Loading...
ยุคสมัยนี้ เราทุกคนอาจจะเกิดเหตุการณ์ต่างแบบไม่คาดคิดก็เป็นได้ ซึ่งถ้าวันนึงเราเจอ
กับเรื่องที่ไม่คาดคิด จะได้เตรียมรับมือได้ทันหรือรู้จัก เ อ า ตัวรอดได้
เรามีความรู้ดีๆมาฝาก ซึ่งแท้จริงก็เป็นความรู้ทางด้านกฎหมายที่คนทั่วไปจำเป็นต้องรู้อยู๋แล้ว
ไว้ใช้เตรียมรับมือได้ทัน ถ้าอาจเกิดเหตุการณ์แบบนี้…
นั่นก็คือ …สมมติถูกเจ้าหน้าที่ตรวจค้นเรามีสิทธิ์ที่จะถ่ายภาพและบันทึกวิดีโอไว้ได้หรือไม่…?
หรือเราส า ม า ร ถ ทำอะไรได้บ้าง…?
พล.ต.ท. ประวุฒิ ถาวรศิริ อดีตโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ อธิบายไว้ว่า
การถ่ายรูป หรือ ถ่ายวีดีโอ ในขณะเจ้าพนักงานตำรวจปฎิบัติหน้าที่
ไม่ว่าจะเป็นการตรวจค้น หรือ จับกุม ส า ม า ร ถ ทำได้ หากไม่ได้เป็น
การขัดขวางการปฎิบัติงานของ จนท.ตำรวจ ไม่เป็นการละเมิดสิทธิ
และ ไม่ ผิ ด ก ฎ ห ม า ย แต่อย่างใด โดยมีขั้นตอนการปฎิบัติดังนี้….
1.ก่อนเจ้าหน้าที่จะค้นรถเรา ควรให้เจ้าหน้าที่แสดงบัตรเจ้าหน้าที่ก่อน
เพื่อไว้ใช้ป้องกันตัวของเราเอง และขออนุญาตบันทึกวิดีโอไว้ด้วย ไว้เป็นหลักบานทั้งสองฝ่าย
2.เมื่อเจ้าหน้าที่มาค้นรถ เราควรให้เจ้าหน้าที่ถอดหมวกเพื่อแสดง หน้าตาตัวเองอย่างเปิดเผย
3.ส า ม า ร ถ บันทึกวิดีโอได้ แต่ต้องไม่เป็นการขัดขวางการทำงานของเจ้าหน้าที่
เพราะเราบันทึกวิดีโอไว้ป้องกันสิทธิ์ของตัวเราเองโดยชอบด้วยกฎหมาย
4.และการบันทึกวิดีโอ นั้นยัง ส า ม า ร ถ ทำให้เกิดผลดีทั้งตัวเราและเจ้าหน้าที่
ในทางด้านเราที่มีสิ่ง ผิ ด ก ฎ ห ม า ย เจ้าหน้าที่ก็จะมีหลักฐานได้
ไว้ เ อ า ผิ ด เราได้ แต่ถ้าเราไม่มีสิ่งของดังกล่าวก็จะเป็นหลักฐานยืนยันความบริสุทธิ์ได้
5.ขอให้เจ้าหน้าที่เพียงคนเดียวเป็นผู้ทำการตรวจค้น เพื่อจะได้ถ่าย
วีดิโอหลักฐานไว้ได้ทันต่อเหตุการณ์
6.ให้เจ้าพนักงานที่จะทำการตรวจค้น ถลกแขนเสื้อขึ้นให้หมด
รวมถึงกางกระเป๋ากางเกง และ แบมือให้ดู พร้อมทั้งบันทึกภาพหรือบันทึกวิดีโอไว้
7.โทรแจ้งญาติหรือคนใกล้ชิดให้ได้เร็วที่สุดให้มาหาเรา หรือ หากรู้จัก
นักข่าวก็ให้ติดต่อมายังที่เกิดเหตุ ในกรณีที่คิดว่ามีเหตุการ ผิ ด ปกติ
8.ถ้าเราถูกควบคุมตัว ถ้าของกลางไม่ใช่ของเรา ห้ามหยิบ ห้ามจับ ห้ามแตะต้อง ขอย้ำ..!!
9.ถ้าเราไม่ ผิ ด ห้ามลงชื่อใดๆในเอกส า ร เลย และถ้าจำเป็นจริงต้องลงชื่อ
ให้อ่านเอก ส า ร ช้าๆ และอ่านให้ละเอียดด้วย
ข้อความไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง ต้องขอให้แก้ไขให้เสร็จสิ้น เ สี ย ก่อนแล้ว
จึงลงชื่อย่อๆแต่ละหน้าๆเพื่อป้องกันการแก้ไข หรือ เพิ่มเติม
10.ถ้าเรา ไม่ได้กระทำความ ผิ ด อย่าชี้จุดเกิดเหตุให้ถ่ายภาพ
หรืออย่าชี้ของกลาง ถ้าไม่ใช่ของเราอย่าชี้เด็ดขาด
11.ขณะถูกควบคุมให้ญาติ , พี่น้อง , คนไว้วางใจ นั่งเฝ้าจนกว่าจะนำตัวส่งศาล
12.ขณะให้การใดๆร้องขอ จนท. ให้ผู้ซึ่งไว้วางใจ หรือ ทนาย
เข้าฟังการสอบสวนจนกว่าจะแล้วเสร็จ
13.ถ้าเราไม่ ผิ ด ให้ร้องเรียน เพื่อร้องขอความเป็นธรรมต่อสื่อมวลชน
และหน่วยงานของรัฐหรือใช้สิทธิ์ทางศาลตามกระบวนการยุติธรรม
ขอบคุณแหล่งที่มา bitcoretech